การจัดหมวดหมู่หนังสือระบบรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) มีชื่อเรียกย่อว่า ระบบ LC. ผู้คิดค้นระบบนี้ คือ ดร. เฮอร์เบิร์ต พุทนัม (Herbert Putnum)
การจัดแบ่งหมวดหมู่หนังสือตามระบบรัฐสภาอเมริกัน แบ่งเป็น 20 หมวดใหญ่ โดยใช้อักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่ A-Z ยกเว้น I,O,W,X,Y ผสมกับตัวเลขอารบิค ตั้งแต่ 1-9999 และอาจเพิ่มจุดทศนิยมกับตัวเลขได้อีก
A = General Work, Polygraphy เรื่องทั่วไป/รวมเรื่อง
B = Philosophy ปรัชญา/ศาสนา
C = History-Auxiliary ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
D = History & Topography ประวัติศาสตร์ทั่วไป, โลกเก่า
E = American General & U.S. General ประวัติศาสตร์อเมริกา
F = U.S.A. (Local) & America Outside U.S. ประวัติศาสตร์อเมริกา
G = Geography, Anthropology, Sport ภูมิศาสตร์/มานุษยวิทยา/นันทนาการ
H = Social Science สังคมศาสตร์
J = Political Sciences รัฐศาสตร์
K = Law กฎหมาย
L = Education การศึกษา
M = Music ดนตรี
N = Fine Arts วิจิตรศิลป์
P = Language & Literature ภาษา/วรรณกรรม
Q = Sciences วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์
R = Medicine แพทย์ศาสตร์
S = Agriculture เกษตรศาสตร์
T = Technology เทคโนโลยี
U = Military Science วิทยาศาสตร์การทหาร
V = Naval Science นาวิกศาสตร์
Z = Bibliography & Library Science บรรณานุกรม/บรรณารักษศาตร์
2. เพื่อให้สารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องจัดเก็บอยู่ร่วมกัน
3. เพื่อให้เข้าถึงสารสนเทศบนชั้นสะดวกทั้งในด้านการค้นด้วยมือและสืบค้นจากระบบที่ใช้
4. เพื่อให้การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศบนชั้นมีความถูกต้อง
2. การจัดหมู่แบบสังเคราะห์ เป็นการแยกแง่มุมต่างๆ ของเนื้อหาพื้นฐานออกเป็นด้านต่างๆ
3. การจัดหมู่แบบลำดับชั้น ระบบจัดหมู่แบบนี้จะแบ่งเนื้อหาความรู้ของสาขาวิชาจากเรื่องทั่วๆ ไป จนไปถึงเรื่องที่มีความเฉพาะเจาะจง
2. สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ของรูปแบบการจัดหมวดมู่จะเป็นชุดของสัญลักษณ์ที่ถูกใช้เพื่อแบ่งเนื้อหาออกเป็นหมู่ใหญ่ หมู่ย่อย
3. ดรรชนี เป็นบัญชีคำศัพท์ที่ใช้ในตารางรายละเอียดของเนื้อหาวิชา จัดเรียงลำดับตามตัวอักษร
4. โครงสร้างตัวเลข เป็นรูปแบบที่ยอมให้โครงสร้างของสัญลักษณ์อื่นเข้ามาผสมผสานโดยไม่มีข้อกำหนดตายตัวว่าจะต้องอยู่ในคู่มือเดียวกัน
5. ตาราง ตารางจะปรากฏอยู่ส่วนท้ายของคู่มือ หรือแยกเล่มออกมาต่างหาก มีไว้เพื่อช่วยขยายเนื้อหาให้มีความเฉพาะเจาะจงมากที่สุด
อักษรตัวที่สองคือ : b d l,m n p r s,t u,y
ใช้แทนด้วยตัวเลข : 2 3 4 5 6 7 8 9
2. คำที่ขึ้นต้นด้วยอักษร S
อักษรตัวที่สามคือ : a ch e h,i m,p t u
ใช้แทนด้วยตัวเลข : 2 3 4 5 6 7-8 9
3. คำที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร Qu
อักษรตัวที่สามคือ : a e i o r y
ใช้แทนด้วยตัวเลข : 3 4 5 6 7 9
สำหรับชื่อที่เริ่มต้นด้วยตัวอักษร Qa-Qt ใช้ 2-29
4. คำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะอื่นๆ
อักษรตัวที่สองคือ : a e i o r u y
ใช้แทนด้วยตัวเลข: 3 4 5 6 7 8 9
5. เมื่อต้องการเพิ่มเลขตัวที่ 2
อักษรตัวที่สามคือ : a-d e-h i-l m n-q r-t u-w x-z
ใช้แทนด้วยตัวเลข: 2* 3 4 5 6 7 8 9
การจัดแบ่งหมวดหมู่หนังสือตามระบบรัฐสภาอเมริกัน แบ่งเป็น 20 หมวดใหญ่ โดยใช้อักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่ A-Z ยกเว้น I,O,W,X,Y ผสมกับตัวเลขอารบิค ตั้งแต่ 1-9999 และอาจเพิ่มจุดทศนิยมกับตัวเลขได้อีก
A = General Work, Polygraphy เรื่องทั่วไป/รวมเรื่อง
B = Philosophy ปรัชญา/ศาสนา
C = History-Auxiliary ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
D = History & Topography ประวัติศาสตร์ทั่วไป, โลกเก่า
E = American General & U.S. General ประวัติศาสตร์อเมริกา
F = U.S.A. (Local) & America Outside U.S. ประวัติศาสตร์อเมริกา
G = Geography, Anthropology, Sport ภูมิศาสตร์/มานุษยวิทยา/นันทนาการ
H = Social Science สังคมศาสตร์
J = Political Sciences รัฐศาสตร์
K = Law กฎหมาย
L = Education การศึกษา
M = Music ดนตรี
N = Fine Arts วิจิตรศิลป์
P = Language & Literature ภาษา/วรรณกรรม
Q = Sciences วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์
R = Medicine แพทย์ศาสตร์
S = Agriculture เกษตรศาสตร์
T = Technology เทคโนโลยี
U = Military Science วิทยาศาสตร์การทหาร
V = Naval Science นาวิกศาสตร์
Z = Bibliography & Library Science บรรณานุกรม/บรรณารักษศาตร์
การจัดหมู่ห้องสมุด (Libraryclassification)
หลักการพื้นฐานของกรจัดหมู่ห้องสมุดเพื่อต้องการจัดกลุ่มของสารสนเทศบนชั้นจัดเก็บให้เป็นไปตามสาขาความรู้และเนื้อหาที่มีความเฉพาะเจาะจงแต่ละสาขา ซึ่งทำให้ผู้ใช้บริการสามารถค้นหาตัวเล่มที่ต้องการได้ง่ายตามที่ต้องการวัตถุประสงค์ของการจัดหมวดหมู่หนังสือในห้องสมุด
1. เพื่อให้เนื้อหาวิชาของสารสนเทศจัดเก็บอย่างเป็นระบบตามแบบแผนที่กำหนด2. เพื่อให้สารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องจัดเก็บอยู่ร่วมกัน
3. เพื่อให้เข้าถึงสารสนเทศบนชั้นสะดวกทั้งในด้านการค้นด้วยมือและสืบค้นจากระบบที่ใช้
4. เพื่อให้การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศบนชั้นมีความถูกต้อง
ประเภทของการจัดหมวดหมู่ (Types of Classification)
1. การจัดหมวดหมู่แบบแจกแจงตัวเลข เป็นระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้ตัวเลขแทนเนื้อหาของความรู้ที่ต้องการจัด2. การจัดหมู่แบบสังเคราะห์ เป็นการแยกแง่มุมต่างๆ ของเนื้อหาพื้นฐานออกเป็นด้านต่างๆ
3. การจัดหมู่แบบลำดับชั้น ระบบจัดหมู่แบบนี้จะแบ่งเนื้อหาความรู้ของสาขาวิชาจากเรื่องทั่วๆ ไป จนไปถึงเรื่องที่มีความเฉพาะเจาะจง
ลักษณะของผังการจัดหมวดหมู่
1. ตารางรายละเอียดของเนื้อหาวิชา ในคู่มือประกอบด้วย การจัดชั้นข้อมูลเป็นหมู่ใหญ่ หมู่ย่อย และแบ่งเนื้อหาออกไปอย่างเป็นระบบโดยใช้ตัวเลข หรือตัวอักษรผสมตัวเลข รูปแบบการลำดับเนื้อหาจะเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไปจนถึงเนื้อหาที่มีความเฉพาะเจาะจง2. สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ของรูปแบบการจัดหมวดมู่จะเป็นชุดของสัญลักษณ์ที่ถูกใช้เพื่อแบ่งเนื้อหาออกเป็นหมู่ใหญ่ หมู่ย่อย
3. ดรรชนี เป็นบัญชีคำศัพท์ที่ใช้ในตารางรายละเอียดของเนื้อหาวิชา จัดเรียงลำดับตามตัวอักษร
4. โครงสร้างตัวเลข เป็นรูปแบบที่ยอมให้โครงสร้างของสัญลักษณ์อื่นเข้ามาผสมผสานโดยไม่มีข้อกำหนดตายตัวว่าจะต้องอยู่ในคู่มือเดียวกัน
5. ตาราง ตารางจะปรากฏอยู่ส่วนท้ายของคู่มือ หรือแยกเล่มออกมาต่างหาก มีไว้เพื่อช่วยขยายเนื้อหาให้มีความเฉพาะเจาะจงมากที่สุด
ตารางกำหนดเลขหนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
1. คำที่ขึ้นต้นด้วยสระ คือ A E I O Uอักษรตัวที่สองคือ : b d l,m n p r s,t u,y
ใช้แทนด้วยตัวเลข : 2 3 4 5 6 7 8 9
2. คำที่ขึ้นต้นด้วยอักษร S
อักษรตัวที่สามคือ : a ch e h,i m,p t u
ใช้แทนด้วยตัวเลข : 2 3 4 5 6 7-8 9
3. คำที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร Qu
อักษรตัวที่สามคือ : a e i o r y
ใช้แทนด้วยตัวเลข : 3 4 5 6 7 9
สำหรับชื่อที่เริ่มต้นด้วยตัวอักษร Qa-Qt ใช้ 2-29
4. คำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะอื่นๆ
อักษรตัวที่สองคือ : a e i o r u y
ใช้แทนด้วยตัวเลข: 3 4 5 6 7 8 9
5. เมื่อต้องการเพิ่มเลขตัวที่ 2
อักษรตัวที่สามคือ : a-d e-h i-l m n-q r-t u-w x-z
ใช้แทนด้วยตัวเลข: 2* 3 4 5 6 7 8 9
คำสำคัญและอักษรย่่อที่ใช้ในแผนการจัดหมู่
1. General Works หรือ General หมายถึง เลขหมู่ของงานที่ให้รายละเอียดในหัวข้อเรื่องนั้นโดยทั่วไปอย่างกว้างๆ ไว้อย่างสมบูรณ์
2. General Specail หมายถึง เลขหมู่ของงานที่ให้รายละเอียดในหัวข้อเรื่องอย่างกว้างๆ แต่ให้เนื้อหาอย่างละเอียด เฉพาะเจาะจง
3. Tratises หมายถึง ข้อเขียน หรือหนังสือตำราที่เขียนขึ้นอย่างมีหลักเกณฑ์เพื่อสนอง หรือคัดค้านเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามหลักทฤษฎีและมีข้อสรุป
4. Under each หมายถึง จะต้องนำเลขหมู่มากระจายรายละเอียดตามเนื้อหาย่อยที่กำหนดไว้อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเลขหมู่นั้นอาจมีคำสั่งให้แบ่งตามชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์ หรือหัวข้อใดหัวข้อหนึ่งไปหนึ่งครั้งแล้วก็ได้
5. Subarranged like หรือ Divided likk หรือ Apply table at... หมายถึง ให้กระจายรายละเอียดของเลขหมู่นั้นเช่นเดียวกับเลขหมู่ หรือตารางที่ระบุไว้ซึ่งได้จำแนกรายละเอียดไว้ให้เรียบร้อยแล้ว
6. เครื่องหมายวงเล็บ () ใช้ใน 2 กรณี คือ
6.1 เลขหมู่นั้นเลิกใช้ไปแล้ว
6.2 ให้นำเลขหมู่ของแต่ละหัวข้อเรื่องหรือสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่อยู่ภายใต้คำสั่ง Under each มากระจายเนื้อหาย่อยต่ออีกตามลำดับ
7. See (ดูที่) หมายถึง ให้ไป "See หรือ ดูที่" อีกเลขหมู่หนึ่งที่กำหนดให้ใช้ได้ เนื่องจากเลขหมู่ดังกล่าวเลิกใช้ไปแล้ว
8. Ca. ย่อมาจาก Circa แปลว่า ประมาณ
9. Cf. ย่อมาจาก Confer แปลว่า เทียบเคียง
10. เครื่องหมาย + เป็นเครื่องหมายที่แสดงให้ทราบว่าเลขหมู่ที่กำหนดไว้นั้นใช้เป็นเลขเริ่มต้นของหัวข้อเรื่องนั้นโดยให้เริ่มดูจากเลขหมู่ดังกล่าวถัดลงมาเรื่อยๆ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น